บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน อังคาร ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2558 ครั้งที่ 10
ความรู้ที่ได้รับ
การส่งเสริมทักษะของเด็กพิเศษ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
- การกินอยู่
- การเข้าห้องน้ำ
- การแต่งตัว
- กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การสร้างความอิสระ
- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
- อยากทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน
** ให้เด็กทานข้าวได้ด้วยตนเอง , อยากไปฉี่ก็ไป
ให้ทุกคนมีอิสระ ครูพยามยามใจเย็น
มองข้อดีของเด็ก อย่ามองข้อเสีย
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
- การได้ทำด้วยตนเอง
- เชื่อมั่นในตนเอง
- เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
- ทำให้เด็กกระทั่งสิ่งที่เด็กสามมารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- “หนูทำช้า” “หนูยังทำไม่ได้”
(ห้ามพูด)
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร , หงุดหงิด ,
เบื่อ
, ไม่ค่อยสบาย
- หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
- เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้
แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
- มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 2-3 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 3-4 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 4-5 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 5-6 ปี)
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
-แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
-เรียงลำดับตามขั้นตอน
การเข้าส้วม
- เข้าไปในห้องส้วม
- ดึงกางเกงลงมา
- ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
- ปัสสาวะ หรือ อุจจาระ
- ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
- ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
- กดชักโครก หรือ ตักน้ำราด
- ดึงกางเกงขึ้น
- ล้างมือ
- เช็ดมือ
- เดินออกจากห้องส้วม
การวางแผนทีล่ะขั้น
-แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆให้มากที่สุด
**ครูต้องย่อยงานให้เป็น #บอกขั้นตอน
สรุป
- ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
- ย่อยงานแต่ล่ะอย่างเป็นขั้นเล็กๆนำไปสู่ผลสำเร็จทั้งมวล
- ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
- เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ
กิจกรรม
ประเมินตนเอง
-วันนี้ตั้งใจเรียนค่ะ อาจารย์มีกิจกรรมให้ทำ ก่อนที่จะเรียนอาจารย์มีคำถามมาให้ตอบ "ไร่สตอเบอร์รี่"
ประเมินเพื่อน
-เพื่อนตั้งใจตอบคำถาม และทำกิจกรรมมากๆค่ะ มีเสียงหัวเราะมากมาย
ประเมินอาจารย์
-อาจารย์มีเนื้อหาในการสอนที่เข้าใจ และให้นักศึกษาทำกิจกรรมเพื่อเรียนรู้อารมณ์ของแต่ล่ะสี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น